#รีวิวหนังสือ สูตรสำเร็จเปิดร้านอาหารอย่างเป็นระบบ

รีวิวหนังสือ คู่มือทำธุรกิจร้านอาหารสำหรับผู้สนใจทั้งมือเก่า มือใหม่ รุ่นใหญ่ รุ่นเล็ก โดยผู้เขียนซึ่งมีประสบการณ์กว่า 20 ปี ในวงการอุตสาหกรรมอาหาร

รีวิวหนังสือ

3

ผู้เขียน : ธามม์ ประวัติตรี
สำนักพิมพ์ : Amarin Academy
รีวิวหนังสือ หมวดหมู่ : บริหารจัดการธุรกิจ


รีวิวหนังสือ PART 1 : มือใหม่หัดเปิดร้าน

OPERATIONS SETUP วางระบบร้านอาหารอย่างมืออาชีพ

-

คำถามเจาะใจก่อนทำร้านอาหาร พร้อมจริงหรือแค่อยาก

  1. จะเปิดที่ไหน : ทำเลที่ตั้ง ( Location )
  2. จะขายอะไร : สินค้า ( Product )
  3. จะขายให้ใคร : ลูกค้า ( Customer )
  4. ใครเป็นคนทำ : คน ( People ) พนักงาน
  5. ขายราคาเท่าไหร่ : ราคาขาย ( Product )

BRAND BOOK

  • สร้างร้านอาหารบนกระดาษ
  • วางคอนเซ็ปท์ร้านให้เห็นภาพอย่างชัดเจน
  • บุคลิกของร้านที่คิดไว้เป็นอย่างไร ชื่อร้าน
  • โทนสีของร้าน หรือก็คือ แบรนด์

คู่มือและแนวทางในการทำร้าน

  • รายการอาหารที่อยากขายเป็นอาหารแนวไหน
  • บรรยากาศร้านที่ชอบ
  • เลือกโทนสีที่เข้ากับรูปแบบร้านที่สุด
  • เลือกลักษณะภาชนะ ถ้วย จาน ชามที่ชอบ
  • ออกแบบชุดยูนิฟอร์มของพนักงาน

เนื้อหาใน Brand Book ที่เหมาะสมควรมีอะไรบ้าง

  • แบรนด์คอมเซ็ปต์ (Brand Concept) จุดเฉพาะที่บอกถึงเอกลักษณ์ของร้าน
  • แบรนด์โมเดล (Brand Model) การดึงบุคลิกหรือลักษณะเฉพาะของร้าน
  • แบรนด์วิชั่น (Brand Vision) วิสัยทัศน์ของแบรนด์

THAM’S ADVICE แบรนด์ของเราต้องชัดเจน คนเห็นต้องจำได้มีความแข็งแกร่ง และอยู่ในใจลูกค้าให้ได้เพราะ แบรนด์ที่ดีก็คือ แบรนด์ที่ลูกค้าเชื่อใจ ไว้ใจ ได้ใจ และสุขใจ

OPERATION SETUP วางระบบดีมีชัยไปกว่าครึ่ง

ไอเดียดีๆเกิดขึ้นได้ จากตัวช่วยเหล่านี้

  • ตัวช่วยที่ 1 หนังสือเล่มนี้
  • ตัวช่วยที่ 2 บุคคลที่รู้จังซึ่งมีประสบการณ์ในวงการร้านอาหาร
  • ตัวช่วยที่ 3 ลงมือทำเลย

THAM’S ADVICE หัวใจสำคัญของการดำเนินธุรกิจร้านอาหารให้มีประสิทธิภาพ คือOperational Excellence (OE) หรือ ระบบปฎิบัติการที่เป็นเลิศ

บทที่ 1 โครงสร้างต้นทุน ร้านอาหาร ( Cost Structure )

กำหนดยอดขายให้เป็น 100%

2

  • Food Cost : ต้นทุนอาหาร : 30%
  • Labor Cost : ค่าแรงพนักงาน : 20%
  • Overhead Cost : ค่าบริหารจัดการ : 10%
  • Rent : ค่าเช่า : 20%
  • EBIT : กำไรจากการดำเนินงาน : 20%

บทที่ 2 ความสำคัญของการทำคู่มือการทำงาน SOP

(Standard Operating Procedure)

  • SOP ในส่วนผลิต หรือ ครัว เช่น กระบวนการประกอบอาหาร
  • SOP ในส่วนการบริการ เช่น วิธีการเสิร์ฟ การบริการ
  • SOP ในส่วนการบริหารจัดการร้าน เช่น การทำเงินสดย่อย

บทที่ 3 โครงสร้างภายในร้านอาหาร

  • สีนี้
  • เจ้าของร้าน หรือผู้ถือหุ้น
  • ผู้จัดการร้าน
  • หน้าบ้าน หลังบ้าน
  • ผู้จัดการบริการ ผู้จัดการครัว
  • สีนั้น
  • หัวหน้า หัวหน้า
  • พนักงาน พนักงาน

Legend :

  • สีนี้ : Management Team
  • สีนั้น : Non-Management Team

ความแตกต่างของคำว่า

  • MANAGING & OPERATING
  • MANAGING คืองานบริหาร
  • OPERATING คือการลงมือทำ

บทที่ 4 ALL ABOUT THE KITCHEN ครบเครื่องเรื่องงานครัว

การกำหนดมาตรฐานครัวที่ดี ครัวที่เหมาะสมจะมีเนื้อที่ประมาณ 25-30% ของพื้นที่ทั้งหมด

ครัวที่ดีต้องประกอบด้วย

  1. ประตูทางเข้า 2 ด้าน
  2. ระบายอากาศได้ดีและปลอดโปร่ง
  3. ถูกสุขลักษณะในการประกอบอาหาร
  4. มีจุดล้างมือ
  5. ตำแหน่งทิ้งขยะ
  6. พื้นที่ว่างเล็กๆ

บทที่ 5 QSC การควบคุม และการประเมินผล การทำงานของร้าน

  • Q : QUALITY
  • S : SERVICE
  • C : CLEANLINESS
  • QSC : เครื่องมือการประเมินผลในการตรวจสอบ เพื่อสร้างความมั่นใจ

รีวิวหนังสือ PART 2 : สตรีทฟู้ด ขายอย่างเดียวก็รวยได้

เสน่ห์ของสตรีทฟู้ด อยู่ที่ ความอร่อย และราคาที่จับต้องได้เนื่องจากต้นทุนที่ใช้ในการดำเนินการไม่แพง เพราะไม่มีค่าเช่า และใช้พนักงานไม่เยอะ

HOW TO BE STREET FOOD หากอยากเปิดร้านสตรีทฟู้ดก็คงต้องย้อนถามตัวเองด้วยคำถาม 5 ข้อ เช่นเดียวกับการเปิดร้านอาหาร คือ

  1. จะเปิดที่ไหน
  2. จะขายอะไร
  3. จะขายให้ใคร
  4. ใครเป็นคนทำ
  5. ขายราคาเท่าไหร่

สตรีทฟู้ดดูไม่โตหากขาดการวางระบบที่ดี หัวใจสำคัญที่ช่วยให้เจ้าของร้านสตรีทฟู้ดประสบความสำเร็จ คือ

  • ทำ SOP
  • Brand Book

KAY SUCCESS FACTOR ของการทำสตรีทฟู้ด คือ มีสูตรดี ขยัน มีความสามารถ มุ่งมั่น ควรหาทำเลที่เป็นหลักเป็นแหล่งมากกว่าเปิดแผงขาย


รีวิวหนังสือ PART 3 : รับมือ ร้านอาหารในสถานการณ์ไม่ปกติ

ประท้วง ภัยพิบัติโรคระบาด เกิดขึ้นได้ทุกยุคทุกสมัยโมเดลการสร้างร้านอาหาร

1

  • การสร้าง ( Creation )
  • การสื่อสาร ( Communication )
  • การนำเสนอ ( Delivery )
  • การสร้างความประทับใจ และ กลับมาใช้บริการซ้ำ ( Customer Satisfaction )
  • การสร้างผลกำไร ( Profit )

แผนรับมือในสถานการณ์ไม่ปกติ

  1. ถ่ายโอนสินค้า หรือวัตถุดิบที่ใกล้หมดอายุไปหมดอายุฟไปที่สาขา ที่ไม่ได้อยู่ในย่านการประท้วง หรือในพื้นที่ที่ไม่ประสบภัยพิบัติ ( หากมีหลายสาขา )
  2. ในกรณีที่เกิดเหตุประท้วง หากร้านอยู่ในย่านที่มีการประท้วง อย่าเสี่ยงเปิดร้าน เพราะไม่ปลอดภัยต่อชีวิต และทรัพย์สิน ควรปิดร้านให้แน่นหนา และเคลื่อนย้ายทรัพย์สินมีค่าและสินค้าไปเก็บไว้ในที่ปลอดภัย
  3. คิดถึงความปลอดภัยของตัวเองและพนังงานเป็นอันดับหนึ่ง
  4. ควรซื้อประกันครอบคลุมภัยพิบัติ รวมถึงประกับความเสียหายที่จะเกิดขึ้นกับบุคคลที่สาม
    • ประชุมพนักงานผ่านทางออนไลน์
    • เพิ่มความถี่ในการดูแลความสะอาด
    • ปรับลดค่าใช้จ่ายประจำ
    • เปลี่ยนเวลาเปิด ปิดใหม่
    • จัดเตรียมพนักงานให้เพียงพอกับการจำหน่ายอาหารแบบนำกลับบ้าน
    • บริหารจัดการกระแสเงิน ( Cash Flow Management ) ให้ดี
    • วางแผนงบประมาณด้านการตลาด
    • เพิ่มเมนูอาหารใหม่
    • เพิ่มช่องทางในการสั่งอาหาร
    • ส่งอาหารให้ลูกค้าเอง
    • ให้กำลังใจพนักงาน

รีวิวหนังสือ โดย คุณปิยาพัชร ปกครอง (ปาร์มี่)
อ้างอิงจาก https://bit.ly/3lFwCyB