เปิดโผ 7 อาชีพเสี่ยงตกงาน เมื่อ ChatGPT ทำได้เหนือกว่าคน!

จากความก้าวหน้าของเทคโนโลยี AI อาจทำให้หลายๆ คนที่กำลังทำงานที่ตัวเองรักอยู่ในขณะนี้ รู้สึกกังวลถึงความไม่ปลอดภัยในหน้าที่การงานที่ตัวเองทำ กลัวเสี่ยงตกงาน ถูกเลิกจ้าง ใครที่กำลังทำอาชีพอะไรกันอยู่

มาดูกันว่าเมื่อการมาใหม่ของ ChatGPT จากเอไอ หรือแชทบอทที่สามารถโต้ตอบกับคนได้ คุยกับเราได้ อาชีพไหนบ้างเสี่ยงตกงานมากสุด วันนี้ www.ThaiSMEsCenter.com มีข้อมูลมานำเสนอให้ทราบ

1. งานเขียนและโฆษณา

ChatGPT

เชื่อหรือไม่ว่าในปัจจุบันได้มีฟังก์ชั่นการเขียนบทความ หรือคำโฆษณาต่างๆ ของทาง AI ฟรีแบบไม่จำกัด ที่สำคัญรวดเร็วด้วย โดยถูกสร้างขึ้นด้วยเอไอจากบริษัท Jounce AI จากความสามารถของ ChatGPT เขียนบทความ 1 หน้าภายในในเวลาแค่อึดใจ ทำให้เจ้าของธุรกิจต่างๆ หันไปใช้บริการเขียนคำโฆษณา เพื่อใช้ในการทำตลาดและการขายเป็นจำนวนมาก และคาดว่าในอนาคตธุรกิจให้บริการเขียนคำโฆษณาจะเป็นระบบอัตโนมัติที่เขียนด้วยเอไอ 90%

2. งานด้านบริการลูกค้า

เชื่อว่าถ้าหาก ChatGPT ถูกพัฒนาขึ้นเรื่อยๆ จนสามารถตอบคำถามเรื่องยากๆ ที่มีความซับซ้อนแทนคนได้ อาจทำให้คนที่ทำงานเกี่ยวกับการให้บริการลูกค้าเสี่ยงต่อการตกงานหรือเลิกจ้าง ไม่ว่าจะเป็นพนักงานต้อนรับ ลูกค้าสัมพันธ์

3. ทนายความ

ChatGPT

ที่ผ่านมาบริษัทด้านกฎหมายในสหรัฐอเมริกา DoNotPay ได้พัฒนาหุ่นยนต์ทนายจนมีความสามารถโต้ตอบกับผู้ใช้งานผ่านแพลตฟอร์มออนไลน์ เพื่อเตรียมต่อสู้คดีจำเลยโดนใบสั่งในศาลในช่วงเดือนกุมภาพันธ์นี้ ความก้าวหน้าดังกล่าวถือเป็นครั้งแรกของโลกในการใช้เอไอช่วยงานกระบวนการยุติธรรม ต่อไปอาจส่งผลกระทบต่ออาชีพทนายความไม่มากก็น้อย

4. โปรแกรมเมอร์

ในช่วงที่ผ่านมาเราจะได้เห็นการรายงานข่าวการเกิดขึ้นของแพลตฟอร์ม ALphaCode ที่สามารถแข่งขันกับมนุษย์ในการแก้ปัญหาวิทยาการคอมพิวเตอร์อย่างง่าย ขณะที่ ChatGPT สามารถตอบโต้หรือตอบคำถามและเขียนโค้ดได้ แม้จะทำได้ยังไม่ดีเท่ากับฝีมือมนุษย์ แต่ถือเป็นก้าวแรกของวงการคอมพิวเตอร์ที่นำระบบอัตโนมัติมาเขียนโค้ดโปรแกรม

5. Influencer และนางแบบ

ChatGPT

ที่ผ่านมาเราได้เห็นอินฟลูเอนเซอร์หุ่นยนต์นางแบบเอไอ อย่างน้อง “กะทิ (Katii/Katie)” สวยเหมือนผู้หญิงจริงๆ แต่เธอคือ “Virtual Influencer” หรือ อินฟลูเอนเซอร์หรือคนดังเสมือนจริง ถูกสร้างขึ้นด้วยโปรแกรมต่างๆ โดยน้องกะทิถูกสร้างโดย บริษัท แพลน บี มีเดีย จํากัด (มหาชน) (PLANB) และเลมอนซ์ บางกอก (Lemonz Bangkok) และบริษัทลูกที่แตกยอดจาก SOUR Bangkok เป็นคนวางในเรื่องของ ‘คาแรคเตอร์’ และมีการ Co ทำงานร่วมกับ AWW Inc. ซึ่งเป็นบริษัทผู้เชี่ยวชาญในเรื่องของ ‘Virtual Human’ หรือมนุษย์เสมือนจริงที่เป็นอันดับต้นๆ ของญี่ปุ่น

6. กราฟิกดีไซน์

ChatGPT

ปัจจุบันรู้หรือไม่ว่าเทคโนโลยีเอไอสามารถสร้างภาพประกอบได้ด้วย ตัวอย่างเช่น DALL-E และ Midjourney สามารถทำผลงานสร้างภาพประกอบได้อย่างรวดเร็ว แต่ข้อเสียก็ยังมีอยู่บ้างเช่นกัน ตรงที่ภาพที่ทออกมาแล้วอาจจะไม่เนียนตาหรือไม่สมจริงเท่าไหร่นัก ตัวอย่างการสร้างภาพในช่วงที่ผ่านมาตามรายงานข่าว โดยมีการสร้างภาพงานปาร์ตี้คนในงานมีนิ้วมือมากเกินไป เกินความเป็นจริงหลายๆ จุด แต่เอไอคงต้องพัฒนาต่อไปเรื่อยๆ

7. งานบัญชี/การเงิน

ในอนาคตข้างหน้าได้มีผู้เชี่ยวชาญด้านเทคโนโลยีในสหรัฐอเมริกาหลายคน มองว่าเทคโนโลยของเอไออาจสามารถทำงานด้านเอกสารบัญชีต่างๆ รวมถึงงานการเงินได้เร็วกว่ามนุษย์ด้วยซ้ำ แต่การใช้เอไอจะเป็นประโยชน์อย่างมากในเรื่องของการเตรียมข้อมูลเอกสาร ให้กับผู้ที่ทำงานด้านบัญชีและการเงิน ซึ่งสุดท้ายเอไอก็ยังคงเป็นแต่ผู้ช่วย ส่วนการสินใจอยู่ที่คน

จะข้อมูลข้างต้นเราจะเห็นได้ว่าการมาของ ChatGPT ในยุคปัจจุบันนั้น ถือว่าเป็นสัญญาณที่ดีในการพัฒนาความสามารถของมนุษย์ให้ดีมีประสิทธิภาพยิ่งขึ้นกว่าเดิม ถ้าหากใครหรือธุรกิจไหนไม่สามารถปรับตัวหรือพัฒนาศักยภาพขึ้นได้ อาจไม่สามารถอยู่รอดหรือแข่งขันกับคนอื่นได้อย่างแน่นอนครับ

 

ผู้อ่านสามารถติดตามข่าวสาร ทุกความเคลื่อนไหวธุรกิจ แฟรนไชส์ และ SMEs รวดเร็ว รอบด้าน
ติดตามได้ที่ Add LINE id: @thaifranchise

0

ต้องการข้อมูลข่าวสาร ต้องการอัพเดทข้อมูลการตลาด หรือแนวทางการทำธุรกิจติดตามได้ที่ https://bit.ly/335phDi
รับฟังบทความต่างๆ ผ่านทาง PodCast ไทยแฟรนไชส์เซ็นเตอร์ https://soundcloud.com/thaifranchisecenter

 

อ้างอิงจาก https://bit.ly/3XdMdGL


8 ขั้นตอน การพัฒนาระบบแฟรนไชส์

1. การวางแผนธุรกิจ ก่อนทำแฟรนไชส์

  • กำหนดรูปแบบธุรกิจ (Business Model) ให้มีความชัดเจน โดนใจลูกค้า
  • ชื่อกิจการ (Brand)
  • การสร้างผลการดำเนินธุรกิจที่ดี ได้ผลกำไร มีความมั่นคง (Good ROI)
  • การสร้างแบรนด์ ตราสินค้า ให้แข็งแกร่ง เป็นที่รู้จักผู้บริโภค
  • การพัฒนาสินค้าบริการ ให้มีคุณภาพมาตรฐาน และระบบการจัดการที่เป็นมาตรฐาน
  • การพัฒนาระบบบริการจัดการ จัดส่งสินค้า วัตถุดิบ
  • วางโครงสร้างองค์กรใหม่ รวมถึงการพัฒนาบุคลากร ทีมงาน สนับสนุนระบบแฟรนไชส์
  • การวางแผน และกำหนดเป้าหมายการขยายธุรกิจ การขยายสาขา ทั้งในและต่างประเทศ
  • การกำหนดกลุ่มลูกค้าเป้าหมายของธุรกิจ ทำเลที่ตั้ง และรูปแบบของร้านค้า
  • การเลือกใช้สื่อต่างๆ ช่องทางต่างๆ ในการจัดกิจกรรม เพื่อสร้างแบรนด์แฟรนไชส์

2. การรวบรวมข้อมูลธุรกิจ

  • ระบบการปฏิบัติงาน วิธีการบริหารจัดการธุรกิจที่ประสบความสำเร็จ
  • ระบบการเงิน การบัญชี
  • งบประมาณในการลงทุนธุรกิจ การขยายสาขา
  • รูปแบบของร้านค้า รูปแบบของตราสินค้า ที่เป็นเอกลักษณ์
  • ระบบการสต็อกสินค้า จัดส่งสินค้า วัตถุดิบ
  • แผนงานการตลาด การส่งเสริมการขายต่างๆ
  • กระบวนการพัฒนาบุคลากร ทีมงานด้านต่างๆ

3. การวิเคราะห์ธุรกิจแฟรนไชส์

  • ธุรกิจเปิดมานานหลายปี จำนวนไม่น้อยกว่า 1สาขา
  • แบรนด์มีชื่อเสียงได้รับความนิยม เป็นที่รู้จักของผู้บริโภคในวงกว้าง
  • สินค้าและบริการ มีคุณภาพมาตรฐาน เป็นที่ต้องการของตลาด
  • เป็นธุรกิจที่มีความมั่นคง ให้ผลตอบแทนสม่ำเสมอ มีผลกำไร ต่อเนื่อง เป็นที่น่าพอใจ
  • มีระบบการทำงาน การปฏิบัติงาน แผนการทำงานที่ชัดเจน สามารถถ่ายทอดให้คนอื่นได้
  • มีระบบการพัฒนาบุคลากร และสร้างทีมงานที่แข็งแกร่ง เป็นมาตรฐาน
  • ประสบความสำเร็จทางด้านการตลาด การสร้างแบรนด์ การส่งเสริมการขายต่างๆ
  • แผนกลยุทธ์การขยายสาขา และเติบโตต่อเนื่อง เป็นรายเดือน หรือ รายปี

4. การวางโครงสร้างของระบบแฟรนไชส์

  • กลยุทธ์การสร้างแบรนด์ให้แข็งแกร่ง เป็นที่รู้จักของผู้บริโภค
  • การสร้างองค์ความรู้ ระบบปฏิบัติงานต่างๆ ที่พร้อมถ่ายทอดให้ผู้ซื้อแฟรนไชส์
  • วางระบบการปฏิบัติงานของแต่ละขั้นตอนธุรกิจ ที่สามารถนำไปปฏิบัติได้ง่าย
  • สร้างคู่มือการทำงานแต่ละฝ่าย แต่ละแผนกให้ชัดเจน รวมถึงขั้นตอนการอบรม ระบบตรวจสอบ เพื่อสร้างมาตรฐานธุรกิจแฟรนไชส์
  • สร้างระบบการสนับสนุนแฟรนไชส์ซี หรือผู้ซื้อแฟรนไชส์
  • การกำหนดเงื่อนไขในด้านต่างๆ ในการขยายสาขาแฟรนไชส์ ให้เป็นที่ยอมรับของลูกค้า (ค่าธรรมเนียม ค่าสิทธิ์ รูปแบบร้าน ทำเล การให้สิทธิต่างๆ แก่ผู้ซื้อแฟรนไชส์)
  • มีโครงสร้างทีมงานที่เหมาะสม พร้อมที่จะเป็นพี่เลี้ยงแก่ผู้ซื้อแฟรนไชส์ช่วงเริ่มต้นได้
  • เงื่อนไขการเปิดสาขาในด้านต่างๆ

5. การวางแผนกลยุทธ์ธุรกิจแฟรนไชส์

  • แผนการขยายแฟรนไชส์
  • ระบบการเงิน
  • ค่าธรรมเนียมต่างๆ
  • ข้อเสนอแฟรนไชส์ซี
  • การจดทะเบียนแฟรนไชส์
  • เรื่องกฎหมาย อายุสัญญาแฟรนไชส์
  • ระบบปฏิบัติงาน รูปแบบการให้สิทธิ
  • การตลาด การโฆษณาประชาสัมพันธ์
  • แพ็คเกจต่างๆ ระบบการสนับสนุนแฟรนไชส์ซีอย่างต่อเนื่อง
  • การจัดทำคู่มือแฟรนไชส์ หรือโปรแกรมแฟรนไชส์
  • การจัดทำสัญญาแฟรนไชส์ รวมถึงเครื่องหมายการค้า

6. การวางแผนเพื่อขยายสาขาธุรกิจแฟรนไชส์

  • แผนการขยายสาขาของบริษัท หรือ ร้านสาขาต้นแบบ เจ้าของแฟรนไชส์จะบริหารจัดการเองทุกอย่าง เพื่อสร้างความโดดเด่น สร้างความเด่นชัดให้แก่นักลงทุน ได้เห็นภาพของร้านที่ชัดเจนมากขึ้น ซึ่งจะนำไปสู่การลงทุนเปิดสาขาแฟรนไชส์ในภายหลัง
  • แผนการทดสอบขยายสาขาแฟนไชส์ คือ เมื่อสาขาแรกมีความแข็งแกร่ง มั่นคง มีผลกำไรต่อเนื่อง เป็นที่ยอมรับของลูกค้าในพื้นที่นั้นๆ แล้ว ก็ทดลองขยายสาขาเพิ่มอีก เพื่อทดสอบสาขาที่ 2 เป็นอย่างไร โดยนำเอาระบบการปฏิบัติงานทุกอย่างของร้านสาขาแรกมาปฏิบัติ ถ้าประสบความสำเร็จ ก็ค่อยขยายสาขาตัวเองเพิ่มอีก 2-3 สาขา ถ้าประสบความสำเร็จเหมือนสาขาแรก ก็ค่อยคิดขายแฟรนไชส์ให้กับคนอื่น

7. กระบวนการพัฒนาและปรับปรุงระบบแฟรนไชส์

  • รวบรวมปัญหาต่างๆ ที่เกิดขึ้น (ระบบการบริหารจัดการในร้าน ขั้นตอนการปฏิบัติงาน)วิเคราะห์ระบบการเงิน การลงทุน ในแต่ละสาขาที่เปิดทดลอง
  • พิจารณาปรับปรุงระบบงาน ระบบการทำงานต่างๆ ให้เหมาะสม
  • ระบบการพัฒนาทีมงานรองรับการขยายงาน ขยายสาขา
  • การวางแผนงานขยายสาขาแฟรนไชส์
  • เก็บข้อมูลรายละเอียดต่างๆ กลุ่มลูกค้า ผลประกอบการ การดำเนินงาน ของสาขาแรก หรือสาขาต้นแบบ เพื่อนำมาปรับปรุงและพัฒนาให้มีความสมบูรณ์มากที่สุด ก่อนเปิดสาขาที่ 2 ที่ 3 ที่ 4 และขายแฟรนไชส์
  • จัดวางงบประมาณ ค่าธรรมเนียมต่างๆ ในการขยายธุรกิจแฟรนไชส์

8. แผนการตลาดของธุรกิจแฟรนไชส์

  • การจัดทำคู่มือต่างๆ เพื่อแนะนำธุรกิจแฟรนไชส์
  • กระบวนการขายแฟรนไชส์ การคัดเลือกผู้ซื้อแฟรนไชส์
  • กระบวนการติดตามลูกค้าเป้าหมาย
  • การนำเสนอธุรกิจแฟรนไชส์ในงานแสดงธุรกิจแฟรนไชส์ ทั้งในประเทศและต่างประเทศ
  • การจัดงาน สัมมนาการขายธุรกิจ แฟรนไชส์
  • การเปิดเยี่ยมชมธุรกิจ ร้านต้นแบบแฟรนไชส์
  • กระบวนการคัดเลือกแฟรนไชส์ซีที่เหมาะสม ตามหลักมาตรฐานแฟรนไชส์สากล
  • กระบวนการถ่ายทอดความรู้ การอบรม และให้คำปรึกษาแก่แฟรนไชส์ซี

สำหรับคนที่อยากเอาตัวรอดในภาวะเศรษฐกิจแบบนี้ แนะนำเข้ารับคำปรึกษาผ่านหน่วยงาน ที่น่าเชื่อถือ เช่น

ไทยแฟรนไชส์ คอนซัลแทนซี่ (ThaiFranchise Consultancy)เป็นหน่วยงานภายใต้กำกับของไทยแฟรนไชส์เซ็นเตอร์ ยินดีให้คำปรึกษาในทุกกระบวนการสร้างระบบแฟรนไชส์ ทางบริษัทฯ มีอาจารย์และทีมงานที่พร้อมให้บริการ คอยให้คำแนะนำ และร่วมค้นหาคำตอบจากประสบการณ์บนเส้นทางของธุรกิจแฟรนไชส์ไทย มายาวนานกว่า 14 ปี

ลักษณะงาน

  • เน้นการทำงานร่วมกับทีมงานของบริษัท
  • ให้แนวทางในการทำงานในทุกๆ ด้าน
  • มอบหมายงานและติดตามงาน
  • อื่นๆ ทุกด้านที่เกี่ยวข้องในการดำเนินธุรกิจ

1. วิเคราะห์ธุรกิจปัจจุบันเบื้องต้น หัวข้อดังนี้

  • ลักษณะธุรกิจในปัจจุบัน
  • ผลการดำเนินงานของธุรกิจ
  • การปฏิบัติงาน
  • เป้าหมายในอนาคต

2. กลยุทธ์ในการสร้างธุรกิจ

  • การสร้างแนวคิดธุรกิจ (Business Concept)
  • การกำหนดเป้าหมาย (Business Objective)
  • การจำลองงบกำไร-ขาดทุน (Profit-Loss)
  • การพัฒนาในด้านต่างๆ (Development Plan)

3. การวางแผนการปฏิบัติงาน (Operation Plan)

  • การวางแผนการปฏิบัติงานของแต่ละหน่วยงาน
  • สร้างคู่มือการทำงานแต่ละฝ่าย
  • กำหนดเงื่อนไขในด้านต่างๆ เช่น ค่าธรรมเนียม ค่าสิทธิ์ รูปแบบร้าน ทำเล การให้สิทธิต่างๆ แก่ผู้ซื้อแฟรนไชส์
  • มีโครงสร้างทีมงานที่เหมาะสม

4. กลยุทธ์ในการขยายธุรกิจ

  • แผนการขยายสาขาของบริษัท หรือ ร้านสาขาต้นแบบ
  • แผนการทดสอบขยายสาขาแฟรนไชส์

5. ขั้นตอนการพัฒนาระบบแฟรนไชส์

  • รวบรวมปัญหาต่างๆ ที่เกิดขึ้น
  • ดูผลประกอบการ การดำเนินของร้านแฟรนไชส์จำลอง หรือร้านต้นแบบ
  • ปรับปรุงแก้ไข
  • พัฒนาธุรกิจแฟรนไชส์ อย่างไม่หยุดยั้ง

การปฎิบัติงาน

  1. สัปดาห์ละ 1 คาบเวลา (ประมาณ 3-4 ชม.)
  2. ติดต่อปรึกษางานได้ตลอดเวลา

เงื่อนไขอื่นๆ

  • การ Consult ไม่รับกลุ่มเดียวกัน ในช่วงเวลาเดียวกันและรับไม่เกิน 5 แบรนด์

อนึ่ง รายละเอียดและขั้นตอนการเข้าร่วมโครงการรับคำปรึกษา อาจมีนอกเหนือจากแผนงานดังกล่าวข้างต้น ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับแบบแผนโครงสร้างของธุรกิจเดิม และเป้าหมายที่กำหนดไว้ 

สอบถามเพิ่มเติม โทร.02-1019187
ฝ่ายที่ปรึกษาโครงการ (ThaiFranchise Consultancy)

คุณมนตรี ศรีวงษ์ (อ๊อฟ)

นักเขียน ผู้คลุกคลีอยู่ในแวดวงข่าวสาร การค้า การลงทุน มีความสนใจเรื่องของธุรกิจเอสเอ็มอี และแฟรนไชส์